ข่าวสารยอดนิยม

ขอเชิญเข้าร่วมการอบรมระยะสั้นฯ ประจำปี 2566 [CUPA2023]

งานอบรมระยะสั้นกุมารเวชศาสตร์ ครั้งที่ 24 ประจำปี 2566 (CUPA2023) เรื่อง “From Guidelines to Real-World Practice in Pediatrics” ผ่านระบบผสมผสาน (Hybrid) ในวันที่ 7-11 สิงหาคม 2566 ขอเชิญพบกับวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะทางในหลากหลายสาขา ที่จะมาถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ เพื่อให้ท่านสามารถนำความรู้เหล่านั้นไปใช้งานได้จริง และเป็นการต่อยอดองค์ความรู้เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในตลอดระยะการทำงานของท่าน ซึ่งในปีนี้จะได้ความรู้ คำแนะนำ...

FREE Registration: 7th PED ID CHULA 2023

FREE Registration: 7th PED ID CHULA 2023 ขอเชิญชวนบุคลากรทางแพทย์ร่วมฟังบรรยาย ในหัวข้อเรื่อง Pediatric Infectious Diseases: Clinical Syndromes ลงทะเบียนฟรี!! ในวันเสาร์ที่ 27 พฤษภาคม 2566  เวลา 09.00-16.00 น. ณ ห้องประชุมมงคลนาวิน ตึก สก. ชั้น...

ความรู้สู่ประชาชน

กว่าจะถึงวัยอนุบาลก็สายเสียแล้ว

การดูแลเลี้ยงเด็กไม่มีคำว่า "สายเกินไป" หรือคำว่า "สายเสียแล้ว" เพราะพ่อแม่และผู้เกี่ยวข้องจำเป็นต้องให้เวลา ให้ความรักและให้กำลังใจ ตลอดจนการอบรมสั่งสอนอย่างต่อเนื่อง จนกว่าเด็กจะเติบโตเป็นผู้ ใหญ่

นมแม่แน่อย่างไร

นมแม่มีคุณค่าทางอาหารที่ครบถ้วน เหมาะสำหรับเลี้ยงทารกและช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการเป็นทุนสมองสำหรับลูกน้อยเพื่อประโยชน์ ในการพัฒนาด้านสติปัญญาต่อไป

อาหารเสริม เริ่มเมื่อใดอย่างไร

"อาหารเสริมสำหรับทารกหมายถึง อาหารอื่นๆ ทุกชนิดที่ใช้เลี้ยงทารกนอกเหนือจากนมแม่"

STAY CONNECTED

2,692FansLike

รับสมัครแพทย์ประจำบ้านต่อยอด
สาขาวิชาโรคติดเชื้อเด็ก ปี 2566

เลี้ยงลูกน้อยอย่างเข้าใจวัยอนุบาล

โรคติดเชื้อ-วัคซีน

หัด

โรคหัด (Measles) เกิดจากการติดเชื้อไวรัสหัด ซึ่งเป็นไวรัส RNA อยู่ใน genus Morbillivirus และ Paramyxovirus family เป็นโรคเฉพาะในคนและลิงบางชนิด? เมื่อป่วยเป็นโรคนี้แล้ว จะมีภูมิต้านทานตลอดชีวิต ส่วนใหญ่พบในเด็กซึ่งไม่เคยได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัดมาก่อนหรือในเด็กโตที่ได้รับวัคซีนมาก่อนหนึ่งครั้ง พบน้อยมากในเด็กที่มีอายุน้อยกว่า 6 เดือนเนื่องจากยังมีภูมิต้านทานซึ่งได้รับจากมารดาหลงเหลืออยู่เพียงพอ? โรคหัดอาจมีความรุนแรงมากในเด็กเล็ก เด็กขาดอาหารอย่างรุนแรง และเด็กที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง

ตับอักเสบเอ

ไวรัสตับอักเสบเอมีเพียงซีโรทัยพ์เดียว สายพันธุ์ที่ก่อโรคในคนได้เป็นชนิด I, II, III และ VII? สายพันธุ์ที่พบบ่อยในประเทศไทย โดยเฉพาะที่มีการระบาดในปี พ.ศ. 2545-2546 คือ genotype IA1

เลี้ยงลูกอย่างเข้าใจ วัยขวบปีแรก

วัคซีนสำหรับลูกน้อย

"การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันมีสองวิธีใหญ่ๆ คือการให้ภูมิคุ้มกันชนิดสำเร็จรูปที่เรียกว่า อิมมูโนโกลบุลินซึ่งสามารถออกฤทธิ์ต่อต้านเชื้อโรคได้ทันที และการให้วัคซีนซึ่งเข้าไปกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายให้สร้างภูมิคุ้มกันหรือแอนติบอดีซึ่งต้องใช้เวลาเป็นสัปดาห์หรือเดือนหลังให้"

เลี้ยงลูกอย่างเข้าใจ วัยเตาะแตะ

ลูกน้อยกินยาก-กินน้อย… กับหนทางแก้ไข

ปัญหาการกินที่พบบ่อยในเด็กอายุ 1-3 ปีคือ กินยากเลือกอาหาร จู้จี้กับการกิน ไม่ยอมลองอาหารชนิดใหม่ หรือไม่กินอาหารที่จัดเตรียมไว้ให้ พบได้บ่อยประมาณ 1 ใน 3 ของเด็กวัยนี้และ พบบ่อยในเด็กที่มีพื้นอารมณ์เป็นเด็กเลี้ยงยาก และมักมีปัญหาเรื่องสัมพันธภาพระหว่างเด็กกับพ่อแม่ซึ่งปัญหาการกินนี้จะค่อยๆ ดี ขึ้นเมื่อเด็กอายุมากขึ้น"

ผลการประกวดผลงานวิจัยแพทย์ประจำบ้านประจำปี 2568 (Resident Research Contest 2025)

ผลการประกวดผลงานวิจัยแพทย์ประจำบ้านประจำปี 2568 🍁 (Resident Research Contest 2025) การประชุมใหญ่กุมารเวชศาสตร์ ครั้งที่ 90 ภายใต้ theme “Bridging the Gap in Pediatric Healthcare” ระหว่างวันที่ 24–26 เมษายน 2568 ณ ศูนย์ประชุมพีช โรงแรมรอยัล คลิฟ บีช พัทยา ✨️ขอแสดงความยินดี✨️ 1. พญ.สรวี ทรัพย์รุ่งเรือง รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 2. พญ.ธนวรรณ น้อยเจริญ รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2

FREE Registration: 9th PED ID CHULA 2025

FREE Registration: 9th PED ID CHULA 2025 ขอเชิญชวนบุคลากรทางแพทย์ร่วมฟังบรรยาย ในหัวข้อเรื่อง Updates on Pediatric Infectious Diseases ในรูปแบบ Hybrid Meeting ลงทะเบียนฟรี!! ในวันเสาร์ที่ 24 พฤษภาคม 2568  เวลา 09.00-16.00 น. ณ ห้องประชุมมงคลนาวิน ตึก สก. ชั้น 10 โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย **ONSITE สำหรับ 100 ท่าน และ ONLINE รับจำนวนไม่จำกัด** ลงทะเบียนได้ที่ https://webcast.live14.com/pedidchula2025/

ขอเชิญเข้าร่วมการอบรมระยะสั้นฯ ประจำปี 2568 [CUPA2025]

งานอบรมระยะสั้นกุมารเวชศาสตร์ ครั้งที่ 26 ประจำปี 2568 (CUPA2025) เรื่อง “Changing Trends in Pediatric Care: From Evidence to Excellence” ในวันที่ 4-8 สิงหาคม 2568 ขอเชิญพบกับวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะทางในหลากหลายสาขา ที่จะมาถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ เพื่อให้ท่านสามารถนำความรู้เหล่านั้นไปใช้งานได้จริง และเป็นการต่อยอดองค์ความรู้เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในตลอดระยะการทำงานของท่าน ในการดูแลผู้ป่วยเพื่อนำไปใช้งานได้จริง ซึ่งเต็มเปี่ยมไปด้วยความรู้และประสบการณ์ของวิทยากร ให้ผู้อบรมได้เลือกกิจกรรมเข้าร่วมตามความสนใจ อีกทั้งการจัดแสดงนิทรรศการแสดงผลิตภัณฑ์จากบริษัทที่ให้การสนับสนุนในการจัดประชุมในครั้งนี้ ณ ห้องประชุมมงคลนาวิน ตึก สก. ชั้น 10 โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย หนังสือเชิญประชุม Download คลิกที่นี่เพื่อลงทะเบียน ติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม: ภาควิชากุมารเวชศาสตร์...

ขอแสดงความยินดีกับบุคลากร

เนื่องในโอกาสที่สภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากการประชุมครั้งที่ 893 เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2567 มีมติแต่งตั้งตำแหน่งให้กับบุคลากรของภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขอแสดงความยินดีกับอาจารย์ จำนวน 2 ท่าน ดังนี้ อ.พญ.อังควิภา ทรัพย์รุ่งเรือง ดำรงตำแหน่งเป็น "ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิเศษ" ดร.ชูพงศ์ อิทธิวุฒิ ดำรงตำแหน่งเป็น "นักวิจัยเชี่ยวชาญ" (AR-3 เทียบเท่ารองศาสตราจารย์) ในสาขาอณูชีววิทยา

งานเชิดชูเกียรติบุคลากร คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ประจำปี 2567

เมื่อวันศุกร์ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2567 ณ ห้องอเนกประสงค์ อาคารแพทยพัฒน์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รศ.นพ.ฉันชาย สิทธิพันธุ์ คณบดี คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นประธานกล่าวเปิดงานเชิดชูเกียรติบุคลากรคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำปี 2567 และมอบโล่เกียรติคุณแด่ผู้ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ ซึ่งผู้ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติฯ ประจำปี 2567 ของภาควิชากุมารเวชศาสตตร์ มีรายนามดังนี้ รศ.พญ.ประสบศรี อึ้งถาวร รศ.พญ.สุมาลี ศรีวัฒนา รศ.พญ.รัชนี เซ็นศิริวัฒนา ศ.กิตติคุณ พญ.พิมลรัตน์ ไทยธรรมยานนท์ ศ.กิตติคุณ...